ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ
ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ
ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก อ่านเพิมเติม
วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557
บทที่7 สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์
และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ อ่านเพิ่มเติม
บทที่6 กฏหมาย
กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม
ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง
และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
หมายถึงระบอบการปกครองที่อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบ่งแยกอำนาจ
และหลักการที่ว่าด้วยความถูกต้องแห่งกฎหมาย อ่านเพิ่มเติม
บทที่4 พลเมืองดี
พลเมืองดี หมายถึง
ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง
และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลอื่น อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 3 วัฒนธรรม
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง
รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ
วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น
ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน
ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 2 การเปลี่ยนเเปลงเเละการพัฒนาสังคม
แนวคิดเรื่องการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทางสังคมในเมืองมองได้หลายแนวทางแต่ถ้าพิจารณาจากพัฒนาการของสังคมไทยในประวัติศาสตร์แล้วจะเห็นว่ามีความแตกต่างจากคำว่า
นครหรือมหานคร ซึ่งเป็นเมืองที่เติบโตในสังคมยุคอุตสาหกรรม อ่านเพิ่มเติม
บทที่1 สังคม
สังคม หรือ สังคมมนุษย์ คือการอยู่รวมกันของมนุษย์โดยมีลักษณะความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันหลายรูปแบบ
เช่น อาชีพ อายุ เพศ ศาสนา ฐานะ ที่อยู่อาศัย ฯลฯ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)